fbpx

ว่าด้วยเรื่อง PR : Performance Ratio และการรับประกันหน่วยผลิตพลังงานไฟฟ้า

จั่วหัว เป็น Relay Protection กับ Zero Export แต่ไหงขึ้นต้น กลายมาเป็นเรื่อง PR และการรับประกันหน่วยผลิตได้ยังไง? อ่าาาา...งงล่ะซิ  ขยับเข้ามาใกล้ๆ เดี๊ยวจะเล่าให้ฟัง....

ก่อนจะเข้าเรื่อง ต้องรู้ที่มาที่ไปก่อนว่า เมื่อ 10-20 ปี ก่อนโน้น (สมัยพระเจ้าเหา ขี่เต่าไล่แลน) ทั้งในประเทศไทย หรือต่างประเทศทั่วโลก การติดตั้งโซล่าเซลล์ ส่วนใหญ่ จะเป็นการติดตั้งบนพื้นดิน (แล้วเราก็เรียกว่าเป็น โซล่าฟาร์ม : Solar Farm) ที่เป็นการติดตั้งแบบออนกริดนั้น จะเป็นการติดตั้งแบบขายไฟฟ้า

อ่านเพิ่มเติม...

 Zero Export

       ♠ จากที่ได้กล่าวถึง Relay Protection ใน EP1 คราวนี้ก็มาถึงคิวของZero Export หรือตัวหรี่ ของอินเวอร์เตอร์ จึงเป็นอุปกรณ์ ที่แก้ไขปัญหาดังกล่าวข้างต้น ( Relay Protection ตรวจจับกระแสไหลย้อนกลับ แล้วสั่งตัดที่เมนเบรกเกอร์ของ MDB ระบบโซล่าเซลล์ ) ทางผู้ผลิตอินเวอร์เตอร์จึงได้ผลิตอุปกรณ์ ตรวจวัดการใช้งานของโหลดรวมภายในโรงงาน (ลูกค้า) ซึ่งแต่ละแบรนด์ อาจเรียกชื่อต่างกัน เช่น Smart Sensor, Energy Meter , Smart Logger , Watt Node … เป็นต้น แต่สรุปรวมคือ ฟังก์ชั่น Zero Export ย้อนกลับต้องเป็นศูนย์ หรือตัวหรี่กำลังการผลิตของอินเวอร์เตอร์ ให้เป็นไปตามสภาวะการใช้ไฟฟ้า ของโหลดรวมภายในโรงงานในช่วงขณะเวลานั้นๆ

อ่านเพิ่มเติม...

ว่าด้วยเรื่องของ Relay Protection และ Zero Export หรือตัวกันย้อน

Relay Protection รีเลย์ โปรเท็คชั่น
        ♠ จริงๆแล้ว Relay Protection ในความหมายของช่างไฟฟ้าทั่วไป ก็คืออุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ป้องกันระบบโครงข่ายไฟฟ้า หากตรวจพบว่ามีสิ่งผิดปกติในโครงข่ายไฟฟ้า ก็จะตัดวงจรออก เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดความเสียหายในภาพรวมของระบบ ในวงกว้าง ซึ่งตัว Relay Protection นี้ก็จะมีความสามารถ หรือมีการตรวจจับค่าความผิดปกติทางไฟฟ้าหลายอย่าง หรือเรียกว่าเป็นการทำงานเป็นแบบมัลติฟังก์ชั่น แต่ในแวดวงโซล่าเซลล์ ส่วนใหญ่จะพูดถึงฟังก์ชั่น รีเลย์กันย้อน ซะเป็นส่วนใหญ่ โดยหลักการก็คือ

อ่านเพิ่มเติม...